แต่ก่อนบ้านโนนดู่ อยู่ในเขตการปกครองของบ้านหนองสระ การคมนาคมจากบ้านหนองสระถึงบ้านโนนดู่นั้นประมาณ
5 กิโลเมตร มีลำห้วยชีลองกั้นกลาง ซึ่งทำให้การปกครองการพัฒนาทำได้อย่างไม่ทั่วถึง ประกอบกับประชากรมีจำนวนเพิ่มขึ้น
ชาวบ้านจึงร่วมกันยื่นขอจัดตั้งเป็นหมู่บ้าน โดยการนำของนายแก้ว ทานาแซง และได้รับคำสั่งอนุมัติจากทางอำเภอเมืองชัยภูมิ
เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2534 และได้แต่งตั้งนายแก้ว ทานาแซง เป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก
บ้านโนนดู่มีลักษณะภูมิอากาศค่อนข้างร้อนและแห้งแล้ง สภาพทั่วไปของหมู่บ้านบริเวณที่อยู่อาศัย และพื้นที่
ทำการเกษตรของหมู่บ้านเป็นที่ราบลุ่ม ฤดูกาล มี 3 ฤดูกาลด้วยกัน คือ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาวอาณาเขต
ทิศเหนือ จดกับบ้านหนองสระ หมู่ที่ 3
ทิศใต้ จดกับบ้านโนนหว้านไพล หมู่ที่ 4
ทิศตะวันออก จดกับบ้านหนองหว้า หมู่ที่ 12 และบ้านหนองคล้า หมู่ที่ 10
ทิศตะวันตก จดกับบ้านท่าขามแป หมู่ที่ 9
ครัวเรือน 60 หลังคาเรือน
ประชากร 214 คน เป็นชาย 106 คน หญิง 108 คน
1. ทำการเกษตร ประมาณร้อยละ 58
2. รับจ้างทั่วไป ประมาณร้อยละ 30
3. ข้าราชการ ประมาณร้อยละ 2
4. ค้าขาย ประมาณร้อยละ 10
5. อาชีพอื่นๆ ประมาณร้อยละ -
รายได้เฉลี่ย 25,000 บาท/คน/ปี
1. วัดบุ่งสาวดาล
2. ที่ทำการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ที่ 13
3. ศูนย์ อสม. หมู่บ้าน
4. ศูนย์สาธิตเทคโนโลยีทางการเกษตร
5. แหล่งอนุรักษ์พันธุ์ปลาหมู่บ้าน
6. ศูนย์แปรรูปผลิตภัณฑ์และถนอมอาหารทางการเกษตร
การเดินทางเข้าสู่หมู่บ้าน
จากที่ว่าการอำเภอ ถึงหมู่บ้าน เส้นทางที่สะดวกที่สุดระยะทาง 15 กิโลเมตร แยกเป็น
1. ถนนลาดยาง/คอนกรีต ระยะทาง 13 กิโลเมตร
2. ถนนลูกรัง ระยะทาง 2 กิโลเมตรสาธารณูปโภค
1. ไฟฟ้า จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า 50 ครัวเรือน
2. โทรศัพท์ จำนวนครัวเรือนที่ใช้โทรศัพท์ 50 ครัวเรือน
3. ประปา จำนวนครัวเรือนที่มีน้ำประปาใช้ 53 ครัวเรือน
4. สิ่งอำนวยความสะดวกอื่นๆ -แหล่งน้ำ
1. แหล่งน้ำตามธรรมชาติ ลำห้วยชีลอง และคลองยายฉิม
2. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้นในหมู่บ้าน สระน้ำจำนวน 2 แห่ง
1. ชื่อผลิตภัณฑ์ เครื่องจักสานจากไม้ไผ่ ผลิตโดย นายจ่อย พลเดชา โทร. -
2. ชื่อผลิตภัณฑ์ เสื่อทอจากกกญี่ปุ่น ผลิตโดย นางคำเขียน กระจ่างกุล โทร -.
3. ชื่อผลิตภัณฑ์ แปรรูปผลิตภันฑ์ทางการเกษตร ผลิตโดย นานางลิ้ว เพชรพูน โทร. -
|